พระเจดีย์จุฬามณี
ใครๆ ไม่อาจนับบุญของบุคคลผู้บูชาอยู่ซึ่งท่านผู้ควรบูชา คือพระพุทธเจ้าหรือพระสาวกทั้งหลาย ผู้ก้าวล่วงปปัญจธรรมเครื่องเนิ่นช้าได้แล้ว ผู้มีความเศร้าโศก และความคร่ำครวญอันข้ามพ้นแล้ว หรือว่าของบุคคลผู้บูชาอยู่ ซึ่งท่านผู้ควรบูชาเหล่านั้น ผู้นิพพานแล้ว ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ ด้วยการนับแม้วิธีใดๆ ก็ตาม ว่าบุญนี้มีประมาณเท่าใด
สัจจบารมี ยอมตายไม่ยอมคด
"ท่านพึงบำเพ็ญสัจจบารมีให้เต็มเปี่ยม อย่าได้พูดเท็จทั้งที่รู้ตัวอยู่ด้วยมุ่งทรัพย์ เป็นต้น ดาวประกายพรึกในทุกฤดูกาล ไม่โคจรไปในทางอื่น โครจรเฉพาะในทางของตนเท่านั้น ฉันใดแม้ท่านไม่ละสัจจะ ไม่ทำการพูดเท็จ ก็จักได้เป็นพระพุทธเจ้า ฉันนั้น "
ชีวิตพระปัจเจกพุทธเจ้า (1)
บัณฑิตทราบอำนาจเนื้อความนี้ว่า บุตรทั้งหลาย ย่อมไม่มีเพื่อต้านทาน บิดา และพวกพ้องทั้งหลาย ก็ไม่มีเพื่ออันต้านทาน เมื่อบุคคล ถูกความตายครอบงำแล้ว ความต้านทานในญาติทั้งหลาย ย่อมไม่มี ดังนี้แล้ว เป็นผู้สำรวมในศีล พึงชำระทางเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน ให้หมดจดโดยพลันทีเดียว
การเจริญเมตตาจิต
ผู้ใดมีสติมั่นคง เจริญเมตตาอันหาประมาณมิได้ สังโยชน์ของผู้นั้น ผู้เห็นธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอุปธิกิเลส ย่อมเบาบาง หากว่าเขาไม่มีจิตคิดประทุษร้ายสัตว์แม้สักตัวเดียว เจริญเมตตาอยู่ เพราะเจริญเมตตาจิตนั้น ย่อมเป็นกุศล
พระชราใช้รถโยกธุดงค์ทั่วประเทศ
กัณหทีปายนชาดก ชาดกว่าด้วยความรักที่มีต่อบุตร
“ เมื่อตอนแรกที่เราบวช เรายินดีประพฤติพรหมจรรย์ได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จากนั้นแม้เราไม่ยินดีก็ทนประพฤติพรหมจรรย์ถึง ๕๐ กว่าปี ด้วยความสัตย์อันนี้ ขอให้ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด ” มัณพัพยะได้ถามถึงสาเหตุที่ทีปายนดาบสฝืนประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่ยอมสึกมาครองเรือน “ ถ้าท่านไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ แล้วทำไมท่านไม่ออกมาครองเรือนหละ ” “ เพราะเราไม่อยากให้ใครว่าเราเป็นคนเหลวไหล กลับกรอกนะสิ
ธุดงค์ เป็นวัตร แต่ไม่เป็นศีล
“ธุดงค์” เป็นวัตรไม่ใช่ศีล เป็นข้อแนะนำให้ปฏิบัติเพื่อฝึกตัว ไม่ใช่ข้อบังคับว่าต้องทำ แบ่งเป็น 3 หมวด คือ จีวร อาหาร และ สถานที่
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
ประมวลภาพวันวิสาขบูชา ณ วัดพระธรรมกาย ตอนที่ 2
ประมวลภาพวันวิสาขบูชา ณ วัดพระธรรมกาย ตอนที่ 2 ภาคเช้า พิธีตักบาตร บริเวณ บ้านแก้วเรือนทองของคุณยายฯ ภาคบ่าย พิธีถวายผ้าไตร บาตร และจตุปัจจัยไทยธรรม แด่สามเณรเตรียมอุปสมบทอุทิศชีวิต ภาคค่ำ พิธีเวียนประทักษิณรอบมหารัตนวิหารคด
วัดพระธรรมกายจัดพิธีขอขมาผู้ปกครอง มอบผ้าไตรและบาตร
วัดพระธรรมกาย ได้จัดพิธีขอขมาผู้ปกครอง มอบผ้าไตรและบาตรแด่ธรรมทายาทใน โครงการอุปสมบท บูชาธรรมมหาปูชนียาจารย์ ประจำปีพุทธศักราช 2563